• HPV Vaccine
    111
    0

    มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งของอวัยวะสืบพันธุ์สตรี โดยแต่ละปีจะมีผู้หญิงไทยเป็นมะเร็งปากมดลูกประมาณ 6,000-8,000 คน  และเสียชีวิตเฉลี่ยวันละ 8-10 คน* (ข้อมูลจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ)  ด้วยผู้หญิงทุกคนมีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก และเกือบ 100% ของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อ HPV  หรือ  ฮิวแมนแป๊ปปิโลม่าไวรัส (Human papilloma virus = HPV) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า เชื้อเอชพีวี (HPV) เพราะเป็นเชื้อที่ติดง่าย นอกจากเพศสัมพันธ์แล้ว ยังสามารถติดต่อทางการสัมผัสได้ด้วย (แต่จะเป็นลักษณะเหมือนพาหะที่นำพาเชื้อไปสู่ช่องคลอดได้) แต่พอติดเชื้อแล้วกลับไม่มีอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด ไม่มีบาดแผลอะไรเกิดขึ้น ทำให้กว่าจะรู้ตัวก็ใช้เวลาหลายปี ช่วงชีวิตของผู้หญิงคนหนึ่งอาจจะเคยได้รับเชื้อ HPV  แต่ร่างกายสามารถกำจัดไปได้ และมีบางส่วนที่ไม่สามารถกำจัดเชื้อได้ ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 15 สายพันธุ์ และใน 15 สายพันธุ์นี้มีทั้งสายพันธุ์ที่เสี่ยงมาก เสี่ยงน้อย เพราะฉะนั้นคนที่ติดเชื้อ HPV จะมีโอกาสหายมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของเชื้อ รวมถึงมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อบริเวณปากมดลูกและทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น หูดหงอนไก่ มะเร็งปากมดลูก และอื่นๆ  โดยปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ...
  • praram9hospital ปัจจัยเสี่ยงมะเร็งเต้านม 01
    182
    0

    มะเร็งเต้านม พบบ่อยเป็นอันดับหนึ่งของสตรีไทยและมีแนวโน้มว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี แพทย์แนะ “ตรวจแมมโมแกรมร่วมกับอัลตร้าซาวด์” ดักมะเร็งไม่ให้เล็ดลอด เพิ่มอัตรารอดชีวิต ลดโอกาสเป็นซ้ำ   ข้อมูลสถิติของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2565 พบหญิงไทยป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมสูงสุด 38,559 ราย ส่วนมากพบในหญิงอายุ 60 ปีขึ้นไป มากที่สุดจำนวน 19,776 ราย รองลงมา คือ อายุ 50 – 59 ปี 12,181 ราย และ อายุ 40 – 49 ปี 5,177 ราย จากสถิติที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมักไม่มีอาการเริ่มแรกแสดงให้เห็น หรืออาจเป็นอาการเล็กน้อยทำให้มองข้ามไป จนกระทั่งมะเร็งเริ่มอยู่ในระยะลุกลาม มีอาการเด่นชัด แล้วค่อยมาพบแพทย์ ซึ่งอาจสายเกินไป  มะเร็งเต้านม เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ท่อน้ำนม ซึ่งพบได้มากที่สุด ประมาณ 80% ส่วนมะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต่อมน้ำนม จะพบได้น้อยกว่า โดยพบประมาณ 10% นอกจากนี้ มะเร็งชนิดนี้อาจเกิดขึ้นจากการแพร่กระจายของมะเร็งมาจากอวัยวะส่วนอื่น ๆ ได้ด้วยเช่นกันที่สำคัญ เพศหญิงมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมมากกว่าเพศชายถึง 100 เท่า รศ.นพ.ประกาศิต จิรัปปภา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา โรงพยาบาลพระรามเก้า แนะนำว่า มะเร็งเต้านมยิ่งตรวจพบเร็ว ยิ่งมีโอกาสรักษาหายขาดมากขึ้น ซึ่งสุภาพสตรีที่มีเกณฑ์หมาะสมที่ควรเข้ารับการตรวจคัดกรองในแต่ละช่วงอายุ ควรปฏิบัติดังนี้ อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรตรวจคลำเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำ อายุ 30-35 ปี ...
  • 10 คำถามปัญหาหมู ... สู่ทางรอดคนเลี้ยง-ทางออกคนกิน
    663
    0

    หมูแพงกลายเป็นปัญหาระดับชาติที่ภาครัฐกำลังเร่งแก้ไข โดยระดมทั้งองคาพยพที่มาร่วมกันดำเนินการให้ปัญหาคลี่คลายโดยเร็วที่สุด เรื่องนี้อาจมีบางคนยังมีคำถามคาใจว่า หมูแพงเกิดจากอะไร แล้วจะมีวิธีแก้ปัญาหวิกฤตินี้ด้วยวิธีไหนบ้าง .. ลองมาดูกัน 1. สาเหตุเนื้อหมูแพง? : เกิดจากความต้องการซื้อที่มีมากกว่า ปริมาณผลผลิตที่ขายในตลาด ราคาจึงปรับเพิ่มขึ้น เป็นไปตาม “กลไกตลาด” 2. หมูหายเพราะอะไร? : ปัจจุบันไทยมีปริมาณแม่หมูชุน 6.6 แสนตัว ลงลง 60% จากปีก่อน ส่งผลให้หมูขุนเหลือเพียง 14.7 ล้านตัว ลดลง 40% จากความกังวลต่อภาวะโรคในหมู เกษตรกรจึงชะลอการเลี้ยงเพื่อลดความเสี่ยง และยังต้องเผชิญกับต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มกว่า 30-40% รวมทั้งต้นทุนแฝงจากการป้องกันโรคที่สูงถึง 500 บาทต่อตัว 3. โรคหมูร้ายแรงไหม แล้วคนยังกินหมูได้หรือเปล่า? : ASF เป็นโรคที่เกิดเฉพาะเจาะจงในหมูเท่านั้น ไม่สามารถติดต่อสุ่คนหรือสัตว์ชนิดอื่นได้ จึงไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ และยังไม่มีประวัติผู้ติดเชื้อจากโรคนี้ เรายังสามารถรับประทานเนื้อหมูได้ปกติ แต่เน้นว่าต้องกินหมูปรุงสุกเท่านั้น ด้วยอุณหภูมิอย่างน้อย 70 องศาเซลเซียสขึ้นไปก่อนรับประทาน ห้ามกินสุกๆดิบๆ เพื่อสุขอนามัยของตนเอง ดังนั้นคนกินอย่าตระหนกตกใจกับเรื่องนี้กินหมูได้ปลอดภัยเหมือนเดิม 4. การป้องกันป้องกันโรคที่ดีที่สุดคืออะไร? ...
  • 10 คำถามปัญหาหมู ... สู่ทางรอดคนเลี้ยง-ทางออกคนกิน
    901
    0

    หมูแพงกลายเป็นปัญหาระดับชาติที่ภาครัฐกำลังเร่งแก้ไข โดยระดมทั้งองคาพยพที่มาร่วมกันดำเนินการให้ปัญหาคลี่คลายโดยเร็วที่สุด เรื่องนี้อาจมีบางคนยังมีคำถามคาใจว่า หมูแพงเกิดจากอะไร แล้วจะมีวิธีแก้ปัญาหวิกฤตินี้ด้วยวิธีไหนบ้าง .. ลองมาดูกัน 1. สาเหตุเนื้อหมูแพง? : เกิดจากความต้องการซื้อที่มีมากกว่า ปริมาณผลผลิตที่ขายในตลาด ราคาจึงปรับเพิ่มขึ้น เป็นไปตาม “กลไกตลาด” 2. หมูหายเพราะอะไร? : ปัจจุบันไทยมีปริมาณแม่หมูชุน 6.6 แสนตัว ลงลง 60% จากปีก่อน ส่งผลให้หมูขุนเหลือเพียง 14.7 ล้านตัว ลดลง 40% จากความกังวลต่อภาวะโรคในหมู เกษตรกรจึงชะลอการเลี้ยงเพื่อลดความเสี่ยง และยังต้องเผชิญกับต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มกว่า 30-40% รวมทั้งต้นทุนแฝงจากการป้องกันโรคที่สูงถึง 500 บาทต่อตัว 3. โรคหมูร้ายแรงไหม แล้วคนยังกินหมูได้หรือเปล่า? : ASF เป็นโรคที่เกิดเฉพาะเจาะจงในหมูเท่านั้น ไม่สามารถติดต่อสุ่คนหรือสัตว์ชนิดอื่นได้ จึงไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ และยังไม่มีประวัติผู้ติดเชื้อจากโรคนี้ เรายังสามารถรับประทานเนื้อหมูได้ปกติ แต่เน้นว่าต้องกินหมูปรุงสุกเท่านั้น ด้วยอุณหภูมิอย่างน้อย 70 องศาเซลเซียสขึ้นไปก่อนรับประทาน ห้ามกินสุกๆดิบๆ เพื่อสุขอนามัยของตนเอง ดังนั้นคนกินอย่าตระหนกตกใจกับเรื่องนี้กินหมูได้ปลอดภัยเหมือนเดิม 4. การป้องกันป้องกันโรคที่ดีที่สุดคืออะไร? ...